แบบประเมินอารมณ์ทางการเมือง และวิธีการดูแลจิตใจตนเองและคนรอบข้าง
กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลลำปาง / MCATT จังหวัดลำปาง / สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง
ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน
1. เพศ
ชาย
หญิง
2. อายุ
อายุ ต่ำกว่า 15 ปี
อายุระหว่าง 15-19 ปี
อายุระหว่าง 20-24 ปี
อายุระหว่าง 25-29 ปี
อายุระหว่าง 30-34 ปี
อายุระหว่าง 35-39 ปี
อายุระหว่าง 40-44 ปี
อายุระหว่าง 45-49 ปี
อายุ 50 ปีขึ้นไป
3. ระดับการศึกษาสูงสุด
ประถมศึกษา
ต่ำกว่ามัธยม
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ปริญญาตรี
สูงกว่าปริญญาตรี
4. อาชีพ
เกษตรกรรม
รับจ้าง/ผู้ใช้แรงงาน
พนักงานบริษัท
พนักงานหน่วยงานราชการ
พนักงานหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ
แม่บ้าน
ค้าขาย/กิจการส่วนตัว
นักเรียน/นักศึกษา
ไม่ได้ทำงาน
5. อำเภอ
เลือกอำเภอ
เมืองลำปาง
แม่เมาะ
เกาะคา
เสริมงาม
งาว
แจ้ห่ม
วังเหนือ
เถิน
แม่พริก
แม่ทะ
สบปราบ
ห้างฉัตร
เมืองปาน
ข้อมูลติดต่อ
6. เบอร์โทรศัพท์มือถือ (ถ้าสะดวก)
7. E-mail (ถ้าสะดวก)
ตอนที่ 2
แบบประเมินอารมณ์ทางการเมือง
8. ติดตามข่าวการเมือง
มากกว่า 2 ชั่วโมง/วัน
1-2 ชั่วโมง/วัน
น้อยกว่า 1 ชั่วโมง/วัน
ไม่สนใจเลย
9. รูปแบบการติดตามข่าวการเมือง (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
เลือกทั้งหมด
โทรทัศน์
วิทยุ
หนังสือพิมพ์
โซเชียลมีเดีย (ไลน์, เฟซบุ๊ก, ทวิตเตอร์ ฯลฯ)
10. จากสถานการณ์การเมืองที่ท่านได้รับรู้ ท่านมีความรู้สึกอย่างไร (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
เลือกทั้งหมด
เบื่อหน่าย ไม่อยากรับรู้
สลดใจ เศร้าใจ หดหู่
โกรธ โมโห เกลียด
กังวล สับสน
11. ส่วนใหญ่ท่านเห็นอย่างไรกับความรู้สึกของตัวเอง
เลือกทั้งหมด
อยากหาทางระบาย
เฉยๆ ไม่รู้สึกอะไร
ไม่ชอบอารมณ์ตัวเอง แต่หยุดไม่ได้
พอใจที่เป็นอยู่อย่างนี้
12. ข่าวการเมืองมีผลอย่างไรต่อความสัมพันธ์ภายในครอบครัวของท่าน
เลือกทั้งหมด
ไม่มีผลต่อครอบครัว
ใกล้ชิดกันมากขึ้น
ความคิดเห็นต่างกัน แต่ไม่ขัดแย้งกัน
ขัดแย้งกัน
ขัดแย้งกันรุนแรงมาก
13. ในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา คุณมีความรู้สึกต่อข้อคำถามต่อไปนี้ อย่างไร (กรุณารวมคะแนนด้วยตนเอง)
รายการ
ใช่(2คะแนน)
ไม่แน่ใจ(1คะแนน)
ไม่ใช่(0คะแนน)
1. ฉันมักอารมณ์เสีย เวลาคุยเรื่องการเมือง
2. เวลาคนพูดเรื่องการเมืองที่ฉันไม่เห็นด้วย ฉันอดไม่ได้ต้องเถียงเสมอ
3. ฉันหมกมุ่น เรื่อง "บ้านเมือง" จนลืม เรื่อง "บ้านฉัน"
4. ฉันกลัวว่าจะเกิดเรื่องร้ายแรง กับประเทศไทยตลอดเวลา
5. ฉันมักจะพยายามโน้มน้ามให้คนอื่นเห็นด้วยกับความคิดเห็นทางการเมืองของฉันเสมอ
14. แบบประเมินความเครียด 5 ข้อ (ST-5)
รายการ
เป็นประจำ
บ่อยครั้ง
เป็นบางครั้ง
แทบไม่มี
1. ท่านมีปัญหาการนอน นอนไม่หลับ หรือนอนมาก
2. ท่านมีสมาธิน้อยลง
3. ท่านหงุดหงิด กระวนกระวาย ว้าวุ่นใจ
4. ท่านรู้สึกเบื่อหน่าย เซ็ง
5. ท่านไม่อยากพบปะผู้คน